กา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kaːᴬ, แรกเริ่มมาจากการเลียนเสียงธรรมชาติ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກາ (กา), ภาษาคำเมือง ᨠᩣ (กา), ภาษาไทลื้อ ᦂᦱ (กา), ภาษาไทใหญ่ ၵႃ (กา), ภาษาไทใต้คง ᥐᥣ (กา), ภาษาไทดำ ꪀꪱ (กา), ภาษาจ้วง roegga
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gaa |
ราชบัณฑิตยสภา | ka | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaː˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]กา
- (อี~, นก~) ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ปากใหญ่หนาแบนข้าง ตาสีดำ ร้องเสียง "กา ๆ" (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Labeo chrysophekadion ในวงศ์ Cyprinidae (วงศ์ปลาตะเพียน) ปากงุ้มต่ำ ตาเล็กตลอดทั้งหัว ตัว และครีบหลังเป็นแผนใหญ่ เฉพาะเกล็ดมีจุดสีเหลืองประปราย ขนาดยาวได้ถึง 60 เซนติเมตร พบในแหล่งน้ำที่มีระดับน้ำตื้น ๆ และมีพันธุ์ไม้น้ำ (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ธนิษฐา เห็นเป็นรูปอีกา
- ภาชนะสำหรับใส่น้ำหรือต้มน้ำ มีพวยและหูสำหรับหิ้วหรือจับ (คำลักษณนาม ใบ หรือ ลูก)
- คำกำกับชื่อปีในวิธีนับศักราชของชาวไทยเหนือ ตรงกับเลข 0
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (1) นกกา, อีกา, กากะ
- (2) ปลากา, เพี้ย, ปลาเพี้ย, ปลาอีตู๋
- (3) ดาวไซ, ดาวเศรษฐี, ดาวศรวิษฐา, ดาวธนิษฐะ, ดาวธนิษฐา
ลูกคำ
[แก้ไข]- (1) กาคาบพริก, กาจับหลัก, กาน้ำ, กาฟักไข่, กาลักน้ำ, กาสัก, กาหลงรัง
- (2) กาแดง, กาดำ
- (4) กาน้ำ, กาเวียน
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]นกกา
|
คำกริยา
[แก้ไข]กา (คำอาการนาม การกา)
- ทำเครื่องหมายเป็นรูปกากบาท ทำเครื่องหมายไว้ให้สังเกตได้
- ดูเฉพาะที่กาไว้
ลูกคำ
[แก้ไข]ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaː/
คำอนุภาค
[แก้ไข]กา
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาทะวืง
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาเวียตติกดั้งเดิม *r-kaː; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเวียดนาม gà; เทียบภาษาเขมร រកា (รกา, “ระกา”)
คำนาม
[แก้ไข]กา
ภาษาเลอเวือะตะวันตก
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ka/
คำกริยา
[แก้ไข]กา
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaː˩˨˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ก่าต่ำ-ขึ้นตก (ประมาณ)
คำนาม
[แก้ไข]กา
- กา (นก)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่เลียนเสียงธรรมชาติ
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ใบ
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ลูก
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคาชุบ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจอร์เจีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาทิเบต
- หน้าที่มีคำแปลภาษาบัลแกเรีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาปัญจาบ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาพม่า
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาพม่า/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาซิโดเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษามาเลเซีย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษามาเลเซีย/t
- หน้าที่มีคำแปลภาษารัสเซีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาละติน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลักเซมเบิร์ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสวีเดน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสโลวัก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสโลวีเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาร์มีเนีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุซเบก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอุตซิตา
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮังการี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮาวาย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮุนสริก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเขมร
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเช็ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเดนมาร์ก
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเบลารุส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเวียดนาม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเวียดนาม/t+
- แมนจู terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาแมนจู
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโปแลนด์
- คำกริยาภาษาไทย
- th:นก
- th:ปลา
- th:ดาราศาสตร์
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำอนุภาคภาษาคำเมือง
- คำอนุภาคภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ต้องแก้การถ่ายเสียงวรรณยุกต์
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่สืบทอดจากภาษาเวียตติกดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาทะวืงที่รับมาจากภาษาเวียตติกดั้งเดิม
- คำหลักภาษาทะวืง
- คำนามภาษาทะวืง
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันตกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันตก
- คำกริยาภาษาเลอเวือะตะวันตก
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน