[go: up one dir, main page]

ข้ามไปเนื้อหา

ลามิวูดีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลามิวูดีน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าEpivir, อื่นๆ[1]
ชื่ออื่น(−)-L-2′,3′-dideoxy-3′-thiacytidine
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa696011
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: B3
  • US: C (ยังไม่ชี้ขาด)
ช่องทางการรับยาBy mouth
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล86%
การจับกับโปรตีนต่ำกว่า 36%
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ5 ถึง 7 ชั่วโมง
การขับออกไต (ราว 70%)
ตัวบ่งชี้
  • 2',3'-dideoxy-3'-thiacytidine
    4-Amino-1-[(2R,5S)-2-(hydroxymethyl)-1,3-oxathiolan-5-yl]-1,2-dihydropyrimidin-2-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEMBL
NIAID ChemDB
PDB ligand
ECHA InfoCard100.132.250
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC8H11N3O3S
มวลต่อโมล229.26 g/mol g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C1/N=C(/N)\C=C/N1[C@@H]2O[C@@H](SC2)CO
  • InChI=1S/C8H11N3O3S/c9-5-1-2-11(8(13)10-5)6-4-15-7(3-12)14-6/h1-2,6-7,12H,3-4H2,(H2,9,10,13)/t6-,7+/m1/s1 checkY
  • Key:JTEGQNOMFQHVDC-RQJHMYQMSA-N checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ลามิวูดีน (Lamivudine) หรือมักเรียกว่า 3TC เป็นยาต้านรีโทรไวรัสชนิดหนึ่ง ใช้เพื่อต่อต้านเชื้อ HIV และรักษาโรคเอดส์[1] และยังเป็นยาทางเลือกหนึ่งเพื่อรักษาโรคตับอักเสบ บี ชนิดเรื้อรัง[1] ยานี้มีประสิทธิภาพในการต่อต้านเชื้อทั้ง HIV-1 และ HIV-2[1] โดยทั่วไปมักใช้ยานี้ประกอบยาต้านรีโทรไวรัสตัวอื่นๆอาทิ ซิโดวูดีน หรืออะบาคาเวียร์ สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทานทั้งแบบเม็ดและเหลว[1]

ผลข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ลามิวูดีนได้แก่ คลื่นไส้, ท้องร่วง, ปวดหัว, อ่อนเพลีย และไอ[1] ผลข้างเคียงระดับรุนแรงได้แก่ เป็นโรคตับ, ภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก และทำให้อาการแย่ลงสำหรับผู้ที่เป็นโรคตับอักเสบ สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้ได้ ทารกที่มีอายุตั้งแต่สามเดือนขึ้นไปก็สามารถใช้ยานี้ได้เช่นกัน[1] สามารถทานยานี้พร้อมเวลาอาหารหรือนอกเวลาอาหารก็ได้

ลามิวูดีนได้รับการอนุมัติให้ใช้เป็นยาครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ. 1995 และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "Lamivudine". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2016. สืบค้นเมื่อ 31 July 2016.