[go: up one dir, main page]

TH35662A - กรรมวิธีสำหรับการปรับปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์ - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับการปรับปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์

Info

Publication number
TH35662A
TH35662A TH9301001958A TH9301001958A TH35662A TH 35662 A TH35662 A TH 35662A TH 9301001958 A TH9301001958 A TH 9301001958A TH 9301001958 A TH9301001958 A TH 9301001958A TH 35662 A TH35662 A TH 35662A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
organic materials
tobacco
approximately
air
organic
Prior art date
Application number
TH9301001958A
Other languages
English (en)
Other versions
TH23313B (th
Inventor
ดี. วินเตอร์สัน นายวอร์เรน
ซี. ครัมพ์ ที่สาม นายจอห์น
บี. ฟิสเชอร์ นายยูจีน
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH35662A publication Critical patent/TH35662A/th
Publication of TH23313B publication Critical patent/TH23313B/th

Links

Abstract

จัดหากรรมวิธีสำหรับการจัดอันดับของยาสูบใหม่ ซึ่งมีผลในการลด CV ของ ยาสูบที่สมดุลอย่างไม่เด่นชัด หรือมีผลในการลดการแตกสลายของยาสูบอย่างเด่นชัด ให้ยาสูบที่จะจัดอันดับใหม่สัมผัสกับกระแสอากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ใกล้ภาวะสมดุลของยาสูบ ขณะที่ปริมาณ OV ของยาสูบเพิ่ม ความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสอากาศที่สัมผัสกับยาสูบเพิ่ม เพื่อมีผลกระทบต่อการจัดอันดับใหม่ของยาสูบ ที่จัดหาไว้เช่นกันคือ กรรมวิธีสำหรับการทำให้ยาสูบแห้ง ซึ่งมีผลในการ เปลี่ยนแปลง CV ของยาสูบที่สมดุลอย่างไม่เด่นชัดหรือมีผลต่อการแตกสลายของยาสูบ อย่างเด่นชัด ให้ยาสูบที่จะทำให้แห้งสัมผัสกับกระแสอากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ใกล้หรือต่ำ กว่าภาวะสมดุลของยาสูบ ขณะที่ปริมาณ OV ของยาสูบลดลง ความชื้นสัมพัทธ์ของกระแส อากาศที่สัมผัสกับยาสูบลดเพื่อมีผลกระทบต่อการทำยาสูบให้แห้ง พบว่าสามารถนำยาสูบมาจัดอันดับใหม่หรือทำให้แห้งเป็นผลสำเร็จในลักษณะ ต่อเนื่อง โดยการใช้สายพานเกลียวแบบเซลฟ์-สแท็คคิง สิทธิบัตรยา

Claims (3)

1. กรรมวิธีสำหรับเพิ่มปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน ของ (a) การทำให้เกิดเบดของวัสดุอินทรีย์โดยการทับถมวัสดุอินทรีย์บนสายพานซ้อนชนิดเวียน กลับที่มีชั้นจำนวนหนึ่ง (b) การให้วัสดุอินทรีย์บนเบดสัมผัสกับกระแสอากาศที่มีความชื้นสัมพัทธ์ใกล้ภาวะสมดุล ของวัสดุอินทรีย์ กระแสอากาศไหลจากชั้นหนึ่งไปยังอีกชั้นหนึ่งในเส้นทางที่ถือว่าทวนกระแส กับ เส้นทางของเบดของวัสดุอินทรีย์ตลอดชั้นจำนวนหนึ่งนั้น (c) การเพิ่มความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสอากาศที่สัมผัสกับวัสดุอินทรีย์บนเบดเพื่อเพิ่ม ปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์ในลักษณะซึ่งคงรักษาความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสอากาศที่สัมผัส กับวัสดุอินทรีย์ให้ใกล้กับภาวะสมดุลของวัสดุอินทรีย์จนกระทั่งบรรลุถึงปริมาณความชื้นที่ต้องการ ของวัสดุอินทรีย์ โดยที่กระแสอากาศถูกดีไฮเดรทโดยเป็นลำดับและวัสดุอินทรีย์ถูกไฮเดรทโดยเป็น ลำดับตามกระแสอากาศที่ไหลในเส้นทางที่ถือว่าทวนกระแส กับเส้นทางของเบดของวัสดุอินทรีย์ 2. กรรมวิธีสำหรับการลดปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์ ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ (a) การทำให้เกิดเบดของวัสดุอินทรีย์โดยการทับถมวัสดุอินทรีย์บนสายพานซ้อนชนิดเวียน กลับที่มีชั้นจำนวนหนึ่ง (b) การทำให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับกระแสอากาศที่ไหลจากชั้นหนึ่งไปยังอีกชั้นหนึ่งในเส้น ทางที่ถือว่าทวนกระแสกับเส้นทางของเบดของวัสดุอินทรีย์ตลอดชั้นจำนวนหนึ่งนั้น กระแสอากาศมี ความชื้นสัมพัทธ์ใกล้กับหรือต่ำกว่าภาวะสมดุลของเบดของวัสดุอินทรีย์ และ (c) การลดความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสอากาศที่สัมผัสกับวัสดุอินทรีย์ในขณะที่ปริมาณ ความชื้นของวัสดุอินทรีย์ลดลงในลักษณะซึ่งคงรักษาความชื้นสัมพัทธ์ของกระแสอากาศที่สัมผัสกับ วัสดุอินทรีย์ให้ใกล้กับหรือต่ำกว่าภาวะสมดุลของวัสดุอินทรีย์ จนกระทั่งบรรลุถึงปริมาณความชื้นที่ ต้องการของวัสดุอินทรีย์ โดยที่วัสดุอินทรีย์ถูกดีไฮเดรทโดยเป็นลำดับและกระแสอากาศถูกไฮเดรท โดยเป็นลำดับ ขณะที่กระแสอากาศเดินทางในเส้นทางที่ถือว่าทวนกระแสกับเส้นทางของเบดของ วัสดุอินทรีย์ 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งอุณหภูมิของวัสดุอินทรีย์ต่ำกว่า ประมาณ 38 ํซ. (100 ํฟ. ) ก่อนการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับกระแสอากาศ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งก่อนขั้นตอนของการให้วัสดุ อินทรีย์สัมผัสกับกระแสอากาศ วัสดุอินทรีย์มีปริมาณความชื้นเริ่มต้นจากประมาณ 1.5% ถึงประมาณ 13% 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งก่อนขั้นตอนของการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับกระแส อากาศ วัสดุอินทรีย์มีปริมาณความชื้นเริ่มต้นจากประมาณ 1.5% ถึงประมาณ 6% 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งกระแสอากาศที่สัมผัสกับวัสดุอินทรีย์มีความชื้น สัมพัทธ์จากประมาณ 30% ถึงประมาณ 64% ที่อุณหภูมิจากประมาณ 21 ํซ. (70 ํฟ.) ถึงประมาณ 49 ํซ. (120 ํฟ.) 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่งวัสดุอินทรีย์ คือ ยาสูบ 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่งยาสูบ คือ ยาสูบพอง 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่งยาสูบ คือ ยาสูบที่ตัดแล้ว 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ยาสูบถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบรวมด้วย ยาสูบพอง หรือ ยาสูบที่ไม่พอง ใบยาสูบทั้งหมด ยาสูบที่ตัดหรือหั่นแล้ว ก้าน ยาสูบที่ประกอบใหม่ หรือ การ รวมกันของสิ่งเหล่านี้ 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ประกอบรวมต่อไปด้วยขั้นตอนของการทำอุณหภูมิของ วัสดุอินทรีย์ให้ร้อนล่วงหน้าจากประมาณ 38 ํซ. (100 ํฟ.) ถึงประมาณ 121 ํซ. (250 ํฟ.) ก่อนถึง ขั้นตอน (a) 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งอุณหภูมิของวัสดุอินทรีย์ต่ำกว่าประมาณ 121 ํซ. (250 ํฟ.) ก่อนถึงขั้นตอนของการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับกระแสอากาศ 1 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งปริมาณความชื้นที่ต้องการของวัสดุอินทรีย์ภายหลัง ขั้นตอน (c) คือ จากประมาณ 11% ถึงประมาณ 13% 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งก่อนที่จะถึงขั้นตอนของการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับ กระแสอากาศ วัสดุอินทรีย์มีปริมาณความชื้นจากประมาณ 11% ถึงประมาณ 40% 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งกระแสอากาศที่สัมผัสกับวัสดุอินทรีย์มีความชื้น สัมพัทธ์จากประมาณ 20% ถึงประมาณ 60% ที่อุณหภูมิจากประมาณ 21 ํซ. (70 ํฟ.) ถึงประมาณ 49 ํซ. (120 ํฟ.) 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งอุณหภูมิของกระแสอากาศเป็นจากประมาณ 24 ํซ. (75 ํฟ.) ถึงประมาณ 121 ํ ซ. (250 ํฟ.) 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งขั้นตอนของการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับ กระแสอากาศนั้นกระทำโดยการใช้กระแสอากาศที่มีความเร็วจากประมาณ 0.23 เมตร/วินาที (45 ฟุต/ นาที) ถึงประมาณ 1.22 เมตร/วินาที (240 ฟุต/นาที) 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งขั้นตอนของการให้วัสดุอินทรีย์สัมผัสกับ กระแสอากาศนั้นกระทำโดยการให้กระแสอากาศมุ่งลงล่างหรือขึ้นบนอย่างใดอย่างหนึ่งผ่านเบดของ วัสดุอินทรีย์หรือโดยการให้กระแสอากาศมุ่งทั้งลงล่างหรือขึ้นบนผ่านเบดของวัสดุอินทรีย์ 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งทำการเลือกอุณหภูมิของกระแสอากาศเพื่อจัด ให้มีการกระทำด้วยความร้อนตามที่ต้องการ 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งทำการเลือกอุณหภูมิของกระแสอากาศเพื่อไม่ จัดให้มีการกระทำที่ใช้ความร้อน 2
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งวัสดุอินทรีย์ คือวัสดุอินทรีย์ชนิดดูดความชื้น 2
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 21 ที่ซึ่งวัสดุอินทรีย์ชนิดดูดความชื้นถูกเลือกจากกลุ่มที่ ประกอบรวมด้วย ผลไม้ ผัก ธัญญาหาร กาแฟ ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม ชา และการรวมกันใดๆ ของ สิ่งเหล่านี้ 2
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งสายพานซ้อนเป็นสายพานชนิดเวียนกลับ และ กระแสอากาศที่ถือว่าไหลผ่านส่วนซ้อนเรียงตามลำดับผ่านชั้นแบบต่อเนื่อง
TH9301001958A 1993-10-28 กรรมวิธีสำหรับการปรับปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์ TH23313B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH35662A true TH35662A (th) 1999-11-05
TH23313B TH23313B (th) 2008-02-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
FI67658B (fi) Expansion av raotobak
JPS587274B2 (ja) タバコ乾燥法
MXPA02002569A (es) Procesamiento de tabaco.
GB2460499A (en) Method for processing burley tobacco in blended type cigarette
US5802734A (en) Method for facility for dehydrating plants, particularly for dehydrating forage
US6027757A (en) Process for producing dehydrated plant matter or portions thereof
US5383479A (en) Process for adjusting the moisture content of tobacco
KR940008614A (ko) 유기재료의 수분함량을 조절하는 방법
Boonsiriwit et al. Effect of moisture‐controlled packaging treatment with acid‐modified expanded vermiculite–calcium chloride on the quality of fresh mushrooms (Agaricus bisporus) during low‐temperature storage
TH35662A (th) กรรมวิธีสำหรับการปรับปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์
Attkan et al. Performance evaluation of a dehumidifier assisted low temperature based food drying system
TH23313B (th) กรรมวิธีสำหรับการปรับปริมาณความชื้นของวัสดุอินทรีย์
US20050263166A1 (en) Process for manufacturing low nicotine tabacco leaf substitute
US20040094175A1 (en) Process for manufacturing nicotine free cigarette substitute
US9622507B2 (en) Process of treating tobacco for the development of distinctive organoleptic properties, uses thereof and smoking article
JPS60501788A (ja) 水分含有たばこを膨張させるための方法及び装置
US3203109A (en) Apparatus for making paste flakes
CN113854617A (zh) 一种烤烟烟叶高密度装烟的初烤工艺
CN104206524A (zh) 一种仔姜贮藏介质及其制备方法
KR970025460A (ko) 가공 담배(cut tabacco)를 제조하기 위하여 담배잎을 처리하는 방법 및 그의 장치
Jebson et al. Studies on the drying behaviour of garlic and a novel technology to produce high quality garlic at a low cost
WO2014108709A1 (en) Treatment of plant material
JPS61192243A (ja) 乾燥果実の製造方法
GB866208A (en) Improvements in or relating to the treatment of products and materials
RU2119754C1 (ru) Способ получения низкокалорийного заменителя чая из листьев стевии