สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี
หน้าตา
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดปทุมธานี | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 7 |
คะแนนเสียง | 271,956 (ก้าวไกล) 202,026 (เพื่อไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ประชาชน (6) เพื่อไทย (1) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
จังหวัดปทุมธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ประวัติศาสตร์
[แก้]หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดปทุมธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายทองกระจาย รัชตะวรรณ
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 10 สมัย ได้แก่ นายชูชีพ หาญสวัสดิ์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดปทุมธานี คือ นางวาณี หาญสวัสดิ์ (จากการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2529)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- หาญสวัสดิ์ (3 คน) ได้แก่ นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ และนางวาณี หาญสวัสดิ์
เขตเลือกตั้ง
[แก้]การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2518 | |||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปทุมธานีและอำเภอลาดหลุมแก้ว (ยกเว้นตำบลคูบางหลวง ตำบลคูขวาง และตำบลบ่อเงิน) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสามโคก, อำเภอคลองหลวง (ยกเว้นตำบลคลองหกและตำบลคลองเจ็ด) และอำเภอลาดหลุมแก้ว (เฉพาะตำบลคูบางหลวง ตำบลคูขวาง และตำบลบ่อเงิน) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอธัญบุรี (ยกเว้นตำบลบึงสนั่นและตำบลบึงน้ำรักษ์), อำเภอคลองหลวง (เฉพาะตำบลคลองหกและตำบลคลองเจ็ด) และอำเภอหนองเสือ (ยกเว้นตำบลหนองสามวัง) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำลูกกา, อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลบึงสนั่นและตำบลบึงน้ำรักษ์) และอำเภอหนองเสือ (เฉพาะตำบลหนองสามวัง) |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปทุมธานี · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลาดหลุมแก้ว, อำเภอสามโคก และอำเภอคลองหลวง (เฉพาะตำบลคลองหนึ่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอคลองหลวง (ยกเว้นตำบลคลองหนึ่ง) และอำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลประชาธิปัตย์) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอลำลูกกา (ยกเว้นตำบลบึงคอไห ตำบลลำไทร และตำบลพืชอุดม) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอหนองเสือ, อำเภอธัญบุรี (ยกเว้นตำบลประชาธิปัตย์) และอำเภอลำลูกกา (เฉพาะตำบลบึงคอไห ตำบลลำไทร และตำบลพืชอุดม) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปทุมธานี, อำเภอลาดหลุมแก้ว, อำเภอสามโคก และอำเภอคลองหลวง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลำลูกกา, อำเภอธัญบุรี และอำเภอหนองเสือ |
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลหลักหก ตำบลบ้านใหม่ ตำบลบางกะดี ตำบลบางปรอก ตำบลบ้านกลาง ตำบลบ้านกระแชง ตำบลบางพูด และตำบลสวนพริกไทย) และอำเภอคลองหลวง (เฉพาะตำบลคลองหนึ่ง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสามโคก, อำเภอลาดหลุมแก้ว และอำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลบ้านฉาง ตำบลบางหลวง ตำบลบางเดื่อ ตำบลบางคูวัด และตำบลบางขะแยง) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอคลองหลวง (ยกเว้นตำบลคลองหนึ่ง) และอำเภอหนองเสือ (เฉพาะตำบลบึงชำอ้อ) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลบางพูน) และอำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลประชาธิปัตย์ ตำบลบึงยี่โถ และตำบลรังสิต) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอลำลูกกา (เฉพาะตำบลคูคต ตำบลลาดสวาย และตำบลบึงคำพร้อย) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอหนองเสือ (ยกเว้นตำบลบึงชำอ้อ), อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลลำผักกูด ตำบลบึงสนั่น และตำบลบึงน้ำรักษ์) และอำเภอลำลูกกา (เฉพาะตำบลบึงคอไห ตำบลพืชอุดม ตำบลลำไทร ตำบลบึงทองหลาง และตำบลลำลูกกา) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลาดหลุมแก้วและอำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลบ้านฉาง ตำบลบางปรอก ตำบลบางหลวง ตำบลบางเดื่อ ตำบลบางคูวัด ตำบลบางขะแยง ตำบลบ้านใหม่ และตำบลบางกะดี) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสามโคก, อำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลบางพูด ตำบลบ้านกระแชง ตำบลบ้านกลาง ตำบลสวนพริกไทย ตำบลบางพูน และตำบลหลักหก) และอำเภอคลองหลวง [เฉพาะตำบลคลองหนึ่ง (ในเขตเทศบาลเมืองคลองหลวง) และตำบลคลองสอง (ในเขตเทศบาลเมืองคลองหลวง)] · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอคลองหลวง [เฉพาะตำบลคลองสาม ตำบลคลองสี่ ตำบลคลองหนึ่ง (ในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง) และตำบลคลองสอง (ในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง)] · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลประชาธิปัตย์) และอำเภอลำลูกกา (เฉพาะตำบลคูคต) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลบึงยี่โถ) และอำเภอลำลูกกา (ยกเว้นตำบลคูคต) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอหนองเสือ, อำเภอคลองหลวง (เฉพาะตำบลคลองห้า ตำบลคลองหก และตำบลคลองเจ็ด) และอำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลรังสิต ตำบลลำผักกูด ตำบลบึงสนั่น และตำบลบึงน้ำรักษ์) |
6 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอลาดหลุมแก้ว, อำเภอสามโคก และอำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลบ้านฉาง ตำบลบางหลวง และตำบลบางเดื่อ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองปทุมธานี (ยกเว้นตำบลบ้านฉาง ตำบลบางหลวง ตำบลบางเดื่อ และตำบลสวนพริกไทย) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอคลองหลวง [เฉพาะตำบลคลองสาม ตำบลคลองสอง (ในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง) และตำบลคลองหนึ่ง (ในเขตเทศบาลเมืองท่าโขลง)] · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเมืองปทุมธานี (เฉพาะตำบลสวนพริกไทย), อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลประชาธิปัตย์) และอำเภอคลองหลวง [เฉพาะตำบลคลองหนึ่ง (ในเขตเทศบาลเมืองคลองหลวง) และตำบลคลองสอง (ในเขตเทศบาลเมืองคลองหลวง)] · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลลำผักกูด ตำบลรังสิต และตำบลบึงยี่โถ), อำเภอคลองหลวง (เฉพาะตำบลคลองสี่ ตำบลคลองห้า ตำบลคลองหก และตำบลคลองเจ็ด) และอำเภอหนองเสือ (เฉพาะตำบลบึงชำอ้อ ตำบลบึงกาสาม และตำบลนพรัตน์) · เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอลำลูกกา (เฉพาะตำบลคูคตและตำบลลาดสวาย) · เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอลำลูกกา (ยกเว้นตำบลคูคตและตำบลลาดสวาย), อำเภอธัญบุรี (เฉพาะตำบลบึงสนั่นและตำบลบึงน้ำรักษ์) และอำเภอหนองเสือ (ยกเว้นตำบลบึงชำอ้อ ตำบลบึงกาสาม และตำบลนพรัตน์) |
7 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
[แก้]ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายทองกระจาย รัชตะวรรณ |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายดาบ ทิว มะโนทัย |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | ร้อยตรี ลมัย กฤษณภักดี (ขาดคุณสมบัติ) |
นายเอี่ยม ราษฎรนิยม (แทนร้อยตรี ลมัย) | ||
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายสุจิตร หิรัญพฤกษ์ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) |
ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายยิ่ง รัศมิทัต |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายนนท์ วรรักษา |
ชุดที่ 10–14; พ.ศ. 2512–2526
[แก้]- พรรคสหประชาไทย
- พรรคสังคมชาตินิยม
- พรรคสันติชน
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522) → พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคประชากรไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายลำภู สงวนสัตย์ | นายสนอง กฤษณะเศรณี |
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายจรูญ กุวานนท์ | นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายลำภู สงวนสัตย์ | นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายลำภู สงวนสัตย์ | |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายจรูญ กุวานนท์ |
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539
[แก้]ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ | นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ | นางวาณี หาญสวัสดิ์ |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายจรูญ กุวานนท์ | ||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายจรูญ กุวานนท์ | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นางวาณี หาญสวัสดิ์ | ||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | |||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายชูชีพ หาญสวัสดิ์ | นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ | นายเอกพจน์ ปานแย้ม |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
[แก้]เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล | นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล |
2 | นายเอกพจน์ ปานแย้ม | นายเอกพจน์ ปานแย้ม |
3 | ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี | นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา |
4 | นายลิขิต หมู่ดี | |
5 | – | นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
[แก้]เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายเอกพจน์ ปานแย้ม (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นางชนากานต์ ยืนยง (แทนนายเอกพจน์) |
นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล | ||
นายสุทิน นพขำ | ||
2 | นางสาวพรพิมล ธรรมสาร | |
ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี | ||
นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
[แก้]- พรรคเพื่อไทย
- พรรคเพื่อไทย → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคอนาคตใหม่ → พรรคภูมิใจไทย
- พรรคภูมิใจไทย
เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายสุทิน นพขำ | นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล |
2 | นายสุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล | นายศุภชัย นพขำ |
3 | นายสมศักดิ์ ใจแคล้ว | นายอนาวิล รัตนสถาพร |
4 | นางสาวพรพิมล ธรรมสาร | นายชัยยันต์ ผลสุวรรณ์ |
5 | ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี (ลาออก) | นางสาวพรพิมล ธรรมสาร |
นายเกียรติศักดิ์ ส่องแสง (แทนว่าที่ร้อยตรี สุเมธ) | ||
6 | นายชูชาติ หาญสวัสดิ์ | นายพิษณุ พลธี |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
[แก้]เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายสรวีย์ ศุภปณิตา |
2 | นายเจษฎา ดนตรีเสนาะ |
3 | นางสาวชลธิชา แจ้งเร็ว |
4 | นายสกล สุนทรวาณิชย์กิจ |
5 | นายมนัสนันท์ หลีนวรัตน์ |
6 | นายเชตวัน เตือประโคน |
7 | นายประสิทธิ์ ปัทมผดุงศักดิ์ |
รูปภาพ
[แก้]-
พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)
-
นายจรูญ กุวานนท์
-
นายเกียรติศักดิ์ ส่องแสง
-
นายสมศักดิ์ ใจแคล้ว
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดปทุมธานี เก็บถาวร 2012-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน