ประเทศไทยใน พ.ศ. 2494
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 170 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 6 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์:
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชัยนาทนเรนทร (จนถึง 7 มีนาคม)
- พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร (ตั้งแต่ 12 มีนาคม)
- นายกรัฐมนตรี: แปลก พิบูลสงคราม (ธรรมาธิปัตย์, รัฐประหาร)
- คณะผู้ยึดอำนาจการปกครอง: คณะบริหารประเทศชั่วคราว (29 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม)
- หัวหน้าคณะบริหารประเทศชั่วคราว: แปลก พิบูลสงคราม (29 พฤศจิกายน – 6 ธันวาคม)
- สภาผู้แทนราษฎร:
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร:
- พระราชธรรมนิเทศ (แต่งตั้ง) (จนถึง 29 พฤศจิกายน)
- พระประจนปัจจนึก (แต่งตั้ง) (ตั้งแต่ 1 ธันวาคม)
- วุฒิสภา: ชุดที่ 2 (ถึง 29 พฤศจิกายน)
- ประธานวุฒิสภา: เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (แต่งตั้ง) (จนถึง 29 พฤศจิกายน)
- ประธานศาลฎีกา: พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์
เหตุการณ์
[แก้]มิถุนายน
[แก้]- 29 มิถุนายน - เกิดเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน : ทหารเรือกลุ่มหนึ่งจู่โจมจับตัว จอมพล ป. พิบูลสงคราม จากเรือแมนฮัตตันไปไว้ที่เรือหลวงศรีอยุธยา ต่อมามีการต่อสู้กันของทั้งฝ่ายกบฏและรัฐบาล มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก
พฤศจิกายน
[แก้]- 29 พฤศจิกายน - เกิดการรัฐประหารตนเอง โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2492 และหันไปใช้รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2475 แทน
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม - พระวิสุทธิสารเถร (ภูสิต ขนฺติธโร)
- 3 มกราคม - พิสิฐ ลี้อาธรรม นักการเมือง
- 5 มกราคม - อาคม เอ่งฉ้วน นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563)
- 23 มกราคม - ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี ศิลปินแห่งชาติ
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์ - อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ นักการเมือง
มีนาคม
[แก้]- 19 มีนาคม - ชรัส เฟื่องอารมย์ นักร้อง
เมษายน
[แก้]- 5 เมษายน - ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี
- 22 เมษายน - ภิญโญ นิโรจน์ นักการเมือง
- 27 เมษายน - สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล นักการเมือง
พฤษภาคม
[แก้]- 17 พฤษภาคม - ธีรพล นิยม ศิลปินแห่งชาติ
มิถุนายน
[แก้]- 24 มิถุนายน - ชิงชัย มงคลธรรม นักการเมือง
- 26 มิถุนายน - ระเบียบรัตน์ พงษ์พานิช นักการเมือง
กรกฎาคม
[แก้]- 9 กรกฎาคม - หม่อมเจ้าฑิฆัมพร ยุคล
- 25 กรกฎาคม - จิตติมา เจือใจ นักร้อง
สิงหาคม
[แก้]- 17 สิงหาคม - สุกำพล สุวรรณทัต นักการเมือง
กันยายน
[แก้]- 15 กันยายน - วิษณุ เครืองาม อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- 23 กันยายน - ประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ นักการเมือง
ตุลาคม
[แก้]- 13 ตุลาคม - พินิจ จารุสมบัติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- 18 ตุลาคม - ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา นักแสดง
พฤศจิกายน
[แก้]- 15 พฤศจิกายน - สมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ นักการเมือง
- 22 พฤศจิกายน - สิริกร มณีรินทร์ นักการเมือง
- 29 พฤศจิกายน - อรสา พรหมประทาน นักแสดง
ธันวาคม
[แก้]- 21 ธันวาคม - ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล นักการเมือง
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มกราคม
[แก้]- 11 มกราคม - พระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) (เกิด 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2436)
มีนาคม
[แก้]- 7 มีนาคม - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร (ประสูติ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428)
เมษายน
[แก้]- 7 เมษายน - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี (ประสูติ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2435)
- 14 เมษายน - ท้าวภัณฑสารนุรักษ์ (เจ้าจอมเพิ่ม ในรัชกาลที่ 5) (เกิด พ.ศ. 2400)