[go: up one dir, main page]

Academia.eduAcademia.edu
วฑุกะไภรวะ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี : การวิเคราะหรูปแบบศิลปะ และประติมานวิทยา นางสาวปวินนา เพ็ชรลวน นักศึกษาปริญญาโท SOAS, University of London บทนํา ในพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ พ ระนคร มี ป ระติ ม ากรรมที่ น า สนใจอยู ชิ้ น หนึ่ ง คื อ ประติ ม ากรรม พระวฑุกะไภรวะ (ภาพที่ 1) ซึ่งระบุ ที่ม าวาพบที่ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี หมอมเจาสุภัทรดิศ ดิศกุล กลาวถึงประติมากรรมชิ้นนี้วา ประติมากรรมพระวฑุกะไภรวะชิ้นนี้มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 15-16 โดยไดรับ อิทธิพลศิลปะอินเดียแบบโจฬะ 1 อยางไรก็ตาม ทานมิไดวิเคราะหรูปแบบ และกลาวถึงความสัมพันธกับ อาณาจักรโจฬะแตอยางใด ดังนั้นบทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบขอสันนิษฐานดังกลาว โดยการ วิเคราะหเปรียบเทียบรูปแบบศิลปะ และศึกษาเรื่องราวทางประติมานวิทยา 0 ภาพที่ 1 : พระวฑุกะไภรวะ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี ที่มา : นายทศพร ทองคํา 1 M.C. Subhadradis Diskul, The Art of Srivijaya (Singapore : Dainippon Tien Wah Printing (Pte) Ltd., 1980), 24. ที่มาของพระวฑุกะไภรวะ พระวฑุกะไภรวะ เปนรูปแบบทางประติมานวิทยารูปแบบหนึ่งของ พระศิวะไภรวะ โดยคําวา วฑุกะ (Batuka) ในภาษาสันสกฤต แปลวา เด็กผูชาย 2 ดังนั้น วฑุกะไภรวะ ก็คือ พระศิวะไภรวะที่ปรากฏในลักษณะ เด็กผูชาย ศิวะไภรวะ ไดรับการกลาวถึงในคัมภีรทางศาสนาพราหมณหลายเลม โดยเฉพาะอยางยิ่งคัมภีรปุราณะ ซึ่งมักกลาวถึงเรื่องราวของพระศิวะไภรวะในทํานองเดียวกันวา ศิวะไภรวะ คือ ปางที่พระศิวะตัดเศียรที่ 5 ของ พระพรหมและเศียรของพระพรหมไดติดอยูที่พระหัตถซายของพระศิวะ ยกตัวอยางเชน 1 คัมภีรวราหะปุราณะ ไดบันทึกเรื่องราวของ ศิ ว ะไภรวะ หรื อ พรหมาศิ ร เฉทกมู ร ติ ว า พระพรหม สรางพระศิวะขึ้นจากคิ้วของพระองค และไดกลาววาจาดูถูกพระศิวะ ดังนั้นพระศิวะจึงกริ้ว และตัดเศียรที่ 5 ของพระพรหม แตเศียรของพระพรหมกลับติดพระหัตถของพระศิวะ ตอมาพระศิวะจึงไดขอพระพรหมใหบอก วิ ธี ที่ จ ะทํ า ให เ ศี ย รของพระพรหมหลุ ด ออก พระพรหมจึ ง ให พ ระศิ ว ะบํ า เพ็ ญ ตบะเดิ น จาริ ก แสวงบุ ญ (Kapalika) 3 เปนระยะเวลา 12 ป เมื่อพระศิวะปฏิบัติตามที่พระพรหมบอกแลว เศียรของพระพรหมจึงจะหลุด ออก เมื่อทราบเชนนั้นพระศิวะจึงเดินทางไปยังมเหนทรคีรี ทรงสวมยัชโญปวีตที่ทําจากเสนผม ประดับชฎา มกุฎ ดวยพวงมาลัยลูกปดที่ทําจากกระดูกและชิ้นสวนของกะโหลกศีรษะ ทรงถือกะโหลกศีรษะที่เต็มไปดวย เลือด หลังจากนั้ นเดิ นทางไปยั ง สถานที่ ศักดิ์สิ ท ธิ์เพื่อ จาริก แสวงบุ ญ เปนระยะเวลา 12 ป โดยในปที่ 12 พระศิวะไดมาถึงเมืองพาราณสี เศียรของพระพรหมจึงหลุดออกจากพระหัตถของพระองค สถานที่ซึ่งพระเศียร ของพระพรหมหลุดเรียกวา Kapala-Mochana หลังจากนั้นพระศิวะไดสรงน้ําในแมน้ําคงคา ตลอดจนบูชา Visvesvara ที่เมืองกาสี หลังจากนั้นพระองคกลับไปยังเขาไกรลาส โดยประติมากรรมพระศิวะที่เดินทาง บําเพ็ญตบะสูงสุดนี้ เรียกวา ภิกษตนมูรติ 4 (ภาพที่ 2) 2 3 2 Vaman Shivram Apte, The student's English-Sanskrit dictionary (Delhi : Motilal Banarsidass, 1893), 37. 3 Kapalika หมายถึง ผูที่ถือถวยที่ทําจากกะโหลกหรือกปาล ดูใน Anna L. Dallapiccola, Dictionary of Hindu Lore and Legend (London : Thames & Hudson, 2002), 56. 4 T.A. Gopinatha Rao, Elements of Hindu Iconography Volume II-part I (Delhi : Motilal Banarsidass, 1968), p. 174-175. ภาพที่ 2 : พระศิวะปางภิกษตนมูรติ เทวลัยพฤหัสทีศวร (Brihadeshvar) ที่มา : Bhikshatana mûrti [Online], Acessesed 13 ตุลาคม 2558, Available from http://ganapati.perso.neuf.fr/dieux/shiva/imgbhikshatana/p1040706b.html. อยางไรก็ตามคัมภีรกูรมาปุราณะไดกลาวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภรวะตางออกไป โดยกลาววา เหลาฤๅษีไดถามพระพรหมวาใครเปนจุดกําเนิดของจักรวาล พระพรหมจึงโออวดวาพระองคเปนจุดกําเนิดของ จักรวาล ทันใดนั้นพระศิวะไดปรากฏกายขึ้นและกลาววาพระองคคือจุดกําเนิดของจักรวาล พระพรหมและ พระศิวะไดโตแยงกันเรื่องดังกลาว ถึงแมวาคัมภีรพระเวทจะกลาววาพระศิวะเปนเทพเจาที่ยิ่งใหญที่สุดก็ตาม แตพระพรหมก็ไมยอมรับ หลังจากนั้นจึงเกิดลําแสงขนาดใหญขึ้น โดยในนั้นมีรูปของพระศิวะปรากฏอยู และ พระศิ ว ะในรู ป ของไภรวะจึ ง ได ตั ด เศี ย รที่ 5 ของพระพรหมที่ ก ระทํ า ตนหยิ่ ง ยโสและไม เ คารพพระองค แตดวยพลังโยคะของพระพรหมทําใหพระพรหมไมตาย 5 4 5 T.A. Gopinatha Rao, Elements of Hindu Iconography Volume II-part I, 175-176. รูปแบบทางประติมานวิทยาของพระศิวะไภรวะ พระไภรวะจัดเปนหนึ่งในปางที่ดุรายของพระศิวะ หรือสังหารมูรติ ลักษณะทางประติมานวิทยาของ พระไภรวะเบื้องตน ยังคงรักษารูปแบบทางประติมานวิทยาของพระศิวะเอาไว กลาวคือ เกลาผมเปนชฎามกุฎ ทัดจันทรเสี้ยวเปนปน มีงูพันรอบพระศอ ถือตรีศูล เปนตน อยางไรก็ตามรูปเคารพพระไภรวะมักมีจํานวน พระกรที่หลากหลาย ตั้งแต 2 กร จนถึง 10 กร และพบพระกรมากสุดถึง 18 กร 6 โดยแตละกรจะถือของ แตกตางกันออกไป โดยสามารถจําแนกสิ่งของตางๆที่เปนองคประกอบของพระไภรวะออกเปนกลุมๆ ไดดังนี้ 1. กลุม ของอาวุธและสิ่งของตางๆ ไดแ ก ตรีศูล ปาศะหรือขดเชือก กปาละซึ่งเปนภาชนะทรงชาม ครึ่ ง วงกลมหรื อ รู ป ไข ที่ ทํ า จากกะโหลกศี ร ษะ ฑมรุ ห รื อ กลองสองหน า ขั ฑ คะหรื อ ดาบ อั ง กุ ศ ะ หรือขอสับชาง ขัฏวางคะซึ่งเปนกระบองที่ทํามาจากกระดูกแขนหรือขาโดยสวนยอดเปนศีรษะมนุษย 7 วัชระหรือสายฟา คันศรและลูกศร ปรศูหรือขวาน คฑา บวง งาชาง เปนตน 2. กลุมของเครื่องประดับ ไดแก เครื่องประดับที่เปนงู และทําจากกะโหลกศีรษะ พวงมาลัยกะโหลก อักษมาลาหรือมาลัยลูกปด กําไลขอพระบาท เครื่องประดับที่เปนกระดิ่ง เปนตน 3. กลุ ม ของภาพบุ ค คลอื่ น ๆ บริ ว าร และพาหนะ ได แ ก พระนางปารวตี ภาพบุ รุ ษ -สตรี เทพ-เทพี คนแคระ และสุนัข เปนตน 5 6 นอกจากนี้ พ ระศิ วะไภรวะยั งมี ลั ก ษณะประติม านวิท ยาที่แ สดงลั ก ษณะเฉพาะ คือ มั กจะไมส วม อาภรณ ชฎามกุฎมีรัศมีเปนเปลวไฟหรือสยายออกเปนเปลวไฟ หรือเรียกวา ชวาลเกศ พระพักตรมีลักษณะ ดุ ร า ย บางครั้ ง อาจมี เ ขี้ ย วที่ มุ ม พระโอษฐ พระเนตรเบิ ก กว า ง ทรงสวมพวงมาลั ย ทํ า จากกะโหลกศี ร ษะ ถือภาชนะที่ทําจากกะโหลกศีรษะ (กปาล) ซึ่งคงมีความหมายถึง เศียรของพระพรหม สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่ง ของประติ ม านวิ ท ยาพระศิ ว ะไภรวะคื อ มี มั ก มี สุ นั ข ประกอบอยู กั บ รู ป เคารพ ซึ่ ง มี ทั้ ง ที่ ยื น อยู ด า นหลั ง และดานขางของพระศิวะ โดยสุนัขจะคอยตามกินพระโลหิตที่ไหลออกมาจากเศียรของพระพรหม 8 อยางไรก็ตามประติมากรรมของพระศิวะไภรวะแตละองค มักมีรายละเอียดที่แตกตางกันขึ้นอยูกับ คัมภีรที่นํามาเปนพื้นฐานในการสรางรูปเคารพ ประกอบกับความรูและการตีความของชางที่แสดงออกมาใน รูปแบบทางศิลปกรรมนั้นมีความแตกตางกัน นอกจากนี้ความนิยมของชางในแตละชวงเวลา ยังสงผลให รูปแบบของพระศิวะไภรวะมีความหลากหลายตามไปดวย ยกตัวอยางเชน ประติมากรรมพระไภรวะในศิลปะ อินเดียเหนือจะสวมรองพระบาท ในขณะที่อินเดียใตจะไมสวมรองพระบาท 9 พระไภรวะศิลปะอินเดียเหนือนุง 7 8 6 ผาสุข อินทราวุธ, รูปเคารพในศาสนาฮินดู (กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2522), 42. 7 เรื่องเดียวกัน, ภาคผนวก, 4-6. 8 Helmut Brinker, Treasures from the Rietberg Museum (New Delhi : The press of A. Colish, 1980), 37-38. 9 T.A. Gopinatha Rao, Elements of Hindu Iconography Volume II-part I, 179. หมหนังชาง แตประติมากรรมพระไภรวะในอินเดียใตนิยมสรางเปนแบบเปลือย 10 แมกระทั่งพระศิวะไภรวะ ในศิลปะโจฬะเองก็มีลักษณะที่แตกตางกันออกไปตามชวงเวลา 9 รูปแบบพระศิวะไภรวะในศิลปะอินเดียแบบโจฬะ 1. พระศิวะไภรวะในศิลปะโจฬะตอนตน (300 BCE – 200 CE) ในสมั ย โจฬะตอนต น ประติ ม ากรรมพระศิ ว ะไภรวะส ว นใหญ มั ก มี 4 กร โดยถื อ กปาละ ไวที่พระกรซายลาง และถือปาศะไวที่พระกรซายบน สวนฑมรุจะถือไวที่พระกรขวาบน ถือตรีศูลที่พระกรขวา ลา ง แต ก็ ยัง มี บ า งที่ ทํา พระศิ ว ะไภรวะในรูป แบบที่ มี 2 กร เช น พระไภรวะที่เ ทวาลั ย จั ม พุ เ กศวร (Jambukesvaram) เมืองติรุวันนาลัย (Tiruvanaikka) ซึ่งพระหัตถขวาจะถือฑมรุ และพระหัตถซายถือกปาละ (ภาพที่ 4) นอกจากนี้หากมีสุนัขมักอยูดานหลังสุนัขมักจะหันไปทางขวา และสุนัขจะใสเครื่องประดับอยูเสมอ ภาพที่ 4 : พระไภรวะ 2 กร สําริด ที่เทวาลัย Jambukesvaram เมืองติรุวันนาลัย ที่มา : S.R. Balasubrahmanyam. Middle Chola Temples. New Delhi : Thomson Press (India), 1975. 2. พระศิวะไภรวะในศิลปะโจฬะตอนกลาง (848 CE – 1070 CE) 10 ผาสุข อินทราวุธ, รูปเคารพในศาสนาฮินดู, 44. ในสมัยโจฬะตอนกลางพระศิวะไภรวะจะมีรูปแบบที่คอนขางหลากหลายกวาในสมัยโจฬะตอนตน มีทั้งพระศิวะไภรวะ 2, 4, 8 และ 10 กร สวนอาวุธที่ถือในพระหัตถ ก็จะแตกตางกันไปตามจํานวนกรของ พระไภรวะ หากเปนพระไภรวะ 4 กร จะมีอาวุธ ลักษณะการถือ รวมทั้งตําแหนงที่ถืออาวุธเชนเดียวกับ ศิลปะโจฬะตอนตน ใน ก ร ณี พร ะไ ภร วะที่ มิ ใ ช 4 ก ร ก็ จ ะมี ข องที่ ถื อมา ก น อย ตา ม จํ า นวน ก ร ยก ตั วเช น พระศิวะไภรวะ 8 กร ภายในซุมเทวาลัย คังไคโกณฑโจฬะปุรัม (ภาพที่ 5) ภาพที่ 5 : พระไภรวะ 8 กร ศิลปะโจฬะตอนกลาง ประติมากรรมในซุมที่เทวาลัย คังไคโกณฑโจฬะปุรัม ในสวนของการถืออาวุธ มีลักษณะการถือ ดังนี้ พระหัตถขวา ถือ ดาบสั้น ตรีศูล ลูกศร และพระหัตถ ซ า ย ถื อ ขดเชื อ ก กะโหลกศี ร ษะ กระดิ่ ง และคั น ศร ส ว นพระไภรวะ 10 กร ที่ เ ทวาลั ย พฤหั ส ที ศ วร (Brihadeeswarar or Rajarajesvaram) เมืองตันชอร (ภาพที่ 6) การถืออาวุธของพระศิวะไภรวะมีลักษณะ การถือ ดังนี้ พระหัตถขวาถือ ตรีศูล ดาบ ลูกศร ฑมรุ และพระหัตถซายถือ คันศร ขดเชือก กปาละ และอีกกร หนึ่งหักหายไป ประเด็นเรื่องสุนัขมีทั้งสุนัขอยูบริเวณดานหลังพระศิวะไภรวะ และไมมีสุนัขอยูซึ่งอาจเกิดจาก การที่หลอประติ ม ากรรมแยกชิ้ น นอกจากนี้แ ลวการหันหนาของสุนัขยังมีทั้งที่หันไปทางขวา และหันไป ทางซาย สวนเครื่องประดับของสุนัขนั้นมีทั้งที่สวมเครื่องประดับและไมสวมเครื่องประดับ ภาพที่ 6 : พระไภรวะ 10 กร ที่เทวาลัย พฤหัสทีศวร เมืองตันชอร ที่มา : S.R. Balasubrahmanyam. Middle Chola Temples. New Delhi : Thomson Press (India), 1975. 3. พระศิวะไภรวะในศิลปะโจฬะตอนปลาย (1070 CE – 1279 CE) รูปแบบสวนใหญของพระศิวะไภรวะในศิลปะโจฬะตอนปลายสืบมาจากตอนตน และตอนกลาง โดยมักทําประติมากรรม 4 กร (ภาพที่ 7) สวนการถืออาวุธ และตําแหนงของอาวุธนั้น รูปแบบเหมือนกับ พระไภรวะ 4 กร ในศิลปะโจฬะตอนตน และตอนกลาง สุนัขที่อยูดานหลังพระไภรวะนั้นมีทั้งที่หันหนาไป ทางขวาและซายเชนเดียวกับที่ปรากฏในศิลปะโจฬะตอนกลาง ภาพที่ 7 : พระศิวะไภรวะ ศิลปะโจฬะตอนปลาย Museum Rietberg Zürich ที่มา : Shiva Bhairava [Online], Acessesed 13 ตุลาคม 2559, Available from http://www.adhikara.com/shiva-nataraj/sitemap.htm รูปแบบพระวฑุกะไภรวะ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี พระวฑุ ก ะไภรวะ อ.เวี ย งสระ จ.สุ ร าษฎร ธ านี เป น ประติ ม ากรรมแบบนู น สู ง มี แ ผ น หลั ง ประติมากรรมมีขนาดประมาณ 52 เซนติเมตร ประทับยืนตรง พระเกศาสยายออกเปนเปลวไฟ (ชวาลเกศ) สวนของพระเกศาที่คอนไปดานหลังของประติมากรรมมีพระจันทรเสี้ยวทัดเปนปน มีงูเปนเครื่องประดับ มีพระเนตรที่สามบนพระนลาฏ อันเปนประติมานวิทยาเบื้องตนของพระศิวะ พระเนตรเบิกกวาง พระพักตรดุ ราย เปลือยกายไมสวมอาภรณ มีอุทรพันธะ มีมาลัยกะโหลกศีรษะคลองที่พระศอหอยยาวลงมาเกือบถึงขอ พระบาท มี 4 พระกร พระกรขวาบนทรงถือกลองสองหนาหรือฑมรุ พระกรขวาลางเห็นอาวุธไมชัด สันนิษฐาน วานาจะถือปาศะ (?) พระกรซายบนทรงถือตรีศูล สวนพระกรซายลางทรงถือภาชนะ ทําจากกะโหลกศีรษะ ที่เรียกวา กปาละ มีกําไลขอพระบาททําจากกะโหลกศีรษะประดับที่ประบาททั้งสองขาง ดานหลังของพระองค มีสุนัขยืนอยู โดยที่คอสุนัขสวมพวงมาลัยกะโหลกศีรษะ พระเนตรที่สาม ชวาลเกศ ฑมรุ งูพนั รอบพระศอ ตรีศูล ปาศะ ? มาลัยกระโหลก กปาละ สุนัข ภาพที่ 8 : การวิเคราะหสิ่งของที่ถือของประติมากรรมพระวฑุกะไภรวะ อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎรธานี การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบศิลปะ เมื่อนํารูปแบบศิลปะของพระไภรวะ ศิลปะโจฬะ มาทําการศึกษาเปรียบเทียบกับ พระวฑุกะไภรวะ ซึ่งพบที่ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี ไดผลการศึกษาออกมาดังนี้ ลักษณะที่คลายกัน ลักษณะที่คลายกันของประติมากรรมพระวฑุกะไภรวะ กับพระไภรวะในศิลปะโจฬะ ประเด็นแรกคือ ความคลายอันเนื่องมาจากลักษณะทางประติมานวิท ยาของพระไภรวะ ไดแก พระเกศาที่สยายออกเปน เปลวไฟ พระพักตรดุราย พระเนตรเบิกโพลง มีเขี้ยวที่มุมพระโอษฐ ไมสวมอาภรณ ทรงเครื่องประดับที่ทําจาก กะโหลกศีรษะ เปนตน นอกจากนี้ยังมีลักษณะที่คลายคลึงกัน อันเนื่องมาจากลักษณะทางประติมานวิทยา ทั่ ว ไปของพระศิ ว ะด ว ย เช น มี พ ระจั น ทร เ สี้ ย วทั ด เป น ป น มี พ ระเนตรที่ ส าม ทรงเครื่ อ งประดั บ เช น กุณฑล สรอยคอ เข็มขัดที่เปนงู เปนตน นอกจากนี้ลักษณะของยัชโญปวีตที่แตกสายคดโคงไปมาไมเลยขอบ ผ า นุ ง ซึ่ ง ยั ช โญปวี ต ลั ก ษณะดั ง กล า วนี้ เ ป น ยั ช โญปวี ต ในศิ ล ปะโจฬะ รวมทั้ ง การมี อุ ท รพั น ธะนั้ น ก็ เ ป น ลักษณะเฉพาะของประติมากรรมในศิลปะอินเดียภาคใต ประเด็นถัดมา คือ ลักษณะของการถือสิ่งของ ซึ่งจับในลักษณะกําสิ่งของ นั้นก็มีลักษณะเชนเดียวกับที่ ปรากฏในศิ ล ปะโจฬะทั้ ง ตอนต น ตอนกลาง และตอนปลาย ประเด็ น สุ ด ท า ย คื อ ลั ก ษณะของสุ นั ข และการสวมเครื่ อ งประดั บ สุ นั ข นั้ น หั น ไปทางขวาของประติ ม ากรรม และมี ก ารสวมเครื่ อ งประดั บ ซึ่งอาจจะเปนพวงมาลั ยที่ ทํ าจากกะโหลกศีรษะ ซึ่งเปนลักษณะหรือรูปแบบที่พบไดท่ัวไปในศิล ปะโจฬะ โดยเฉพาะศิ ล ปะโจฬะตอนต น ที่ มี ลั ก ษณะของสุ นั ข แบบนี้ เ พี ย งแบบเดี ย วเท า นั้ น ในขณะที่ ศิ ล ปะโจฬะ ตอนกลาง และตอนปลายมีการจัดวางตัวสุนัขในลักษณะที่หลากหลายขึ้น ลักษณะที่ตางกัน ลั ก ษณะที่ แ ตกต า งกั น ระหว า งพระวฑุ ก ะไภรวะ กั บ พระไภรวะในศิ ล ปะโจฬะ ประเด็ น แรกคื อ ตํ า แหน ง ของอาวุ ธ ที่ ถื อ เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั น แล ว พบว า สิ่ ง ของในพระหั ต ถ ที่ ถื อ เหมื อ นกั น มาก กล า วคื อ พระวฑุกะไภรวะที่เวียงสระนั้นมี 4 กร ทรงถือกปาละ ฑมรุ และตรีศูล โดยจะทรงถือกปาละไวที่พระกรซาย ลาง สวนฑมรุจะทรงถือไวที่พระกรขวาบน อยางไรก็ตามยังคงมีความแตกตางกันบางประการ ไดแกตําแหนง ของพระกรที่ทรงถือตรีศูล ซึ่งรูปไภรวะในศิลปะโจฬะทั้งตอนตน ตอนกลาง และตอนปลายนั้นตางถือตรีศูล ไวที่พระกรขวาลาง ในขณะที่พระวฑุกะไภรวะที่พบที่อําเภอเวียงสระนั้น จะถือตรีศูลไวที่พระกรซายบน สวนชนิดของที่ถือ และตําแหนงในการถือของชนิดอื่นจะเหมือนกันเปนสวนใหญ ในขณะที่พระกรขวาลาง พระวฑุกะไภรวะที่พบยังอําเภอเวี ยงสระนั้น ไมส ามารถระบุไดอยางแนชัดวาทรงถืออาวุธหรือสิ่งของใด เนื่องจากประติมากรรมชํารุด ทําใหสังเกตของในพระหัตถไดลําบาก แตจากการสังเกตพบวาทรงถือสิ่งของ ในลักษณะกําพระหัตถคว่ําลง สิ่งของที่ยื่นออกจากพระหัตถมีลักษณะขดเปนเกลียวที่อาจเปนปาศะ (ขดเชือก) ซึ่งเปนอาวุธที่มักพบเสมอในประติมากรรมพระไภรวะศิลปะโจฬะ สรุป จากการศึกษาประติมากรรมพระวฑุกะไภรพ ที่พบยัง อ.เวียงสระ จ.สุราษฎรธานี พบวา ภาพรวมของ รูปแบบประติมากรรมแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธกับศิลปะอินเดียแบบโจฬะ แตอาจมีความแตกตางบาง เล็กนอยในสวนของสิ่งของที่ถือ ความสัมพันธดังกลาวอาจเปนผลเนื่องมาจากสงครามในรัชสมัยของพระเจา ราเชนทรโจฬะที่ตองการขยายอาณาเขตและไดโจมตีเมืองศรีวิชัยตลอดจนเมืองขึ้นอื่นๆ ของศรีวิชัย ในป 1025 CE 11 ผลจากสงครามอาจสงผลใหเกิดการแพรกระจายของวัฒนธรรมอินเดียภาคใตในดินแดนแถบนี้ ดัง จะเห็ น ว า มี ก ารพบจารึ ก อั ก ษรทมิ ฬ ภาษาทมิ ฬ และสั น สกฤต ที่ วั ด มหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร อ.เมื อ ง จ. นครศรีธรรมราช 12 โดยชาวทมิฬนี้เปนกลุมคนที่เครงครัดในการนับถือศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย โดยพบวา พระศิวะไภรวะ เปนหนึ่งในประติมากรรมที่ไดรับความนิยมในการบูชาในอินเดียภาคใต นอกจากนี้ยังพบ ชิ้นสวนองคประกอบทางสถาปตยกรรมอิทธิพลศิลปะวิชัยนคร (1336 CE–1646 CE) (ปุษปะโพธิไกร) ที่เมือง โบราณพระเวียง จังหวัดนครศรีธรรมราช อันแสดงใหเห็นถึงการแพรกระจายของวัฒนธรรมอินเดียภาคใตใน ดินแดนประเทศไทยอยางตอเนื่อง 11 11 12 พิริยะ ไกรฤกษ, ศิลปะทักษิณกอนพุทธศตวรรษที่ 19 (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2523), 58. อมรา ศรีสุชาติ, ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2557), 173-175. ภาพที่ 9: ปุษปะโพธิไกร จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาตินครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช ที่มา: นายสารัต ชะลอสันติสกุล อย า งไรก็ ต ามเนื่ อ งด ว ยขนาดของประติ ม ากรรมพระวฑุ ก ะไภรวะองค ดั ง กล า วมี ข นาดเพี ย ง 52 เซนติเมตร อีกทั้งในปจจุบันพบเพียงแคชิ้นเดียวในประเทศไทย จึงมีความเปนไปไดวาประติมากรรม องคดังกลาวถูกเคลื่อนยายมา ซึ่งอาจไดรับการเคลื่อนยายมาจากทางอินเดียภาคใต โดยอาจจะเปนสิ่งของที่ เหลาพอคาและนักเดินเรือชาวอินเดียใตทั้งหลายในสมัยนั้นนําติดตัวมาเพื่อใชในการสักการะบูชา ในอีกกรณี หนึ่งอาจเปนของที่ผ ลิ ตขึ้นในบริเวณภาคใตซึ่งเป นผลมาจากการทําสงครามของพระเจาราเชนทรโจฬะ ทําใหกลุมชาวทมิฬที่นับถือศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย เขามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณคาบสมุทรมลายู และไดสราง ประติมากรรมชิ้นนี้ขึ้นก็เปนได เนื่องจากวัสดุที่นํามาผลิตนั้นเปนหินทราย ซึ่งเปนวัสดุที่พอจะหาไดในทองถิ่น ประกอบกั บ ยั ง มี รู ป แบบบางประการที่ แ ตกต า งไปจากศิ ล ปะโจฬะของอิ น เดี ย จึ ง มี ค วามเป น ไปได ว า พระวฑุกะไภรวะองคนี้อาจเปนประติมากรรมที่ผลิตขึ้นในบริเวณภาคใตของประเทศไทยโดยชาวอินเดียใต ที่เดินทางมา และยังบริเวณภาคใตของประเทศไทยก็เปนได