บาท
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงพยัญชนะซ้ำ} | บาด | [เสียงสมาส] บาด-ทะ- | [เสียงสมาส] บาด- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bàat | bàat-tá- | bàat- |
ราชบัณฑิตยสภา | bat | bat-tha- | bat- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /baːt̚˨˩/(สัมผัส) | /baːt̚˨˩.tʰa˦˥./ | /baːt̚˨˩./ | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมร បាទ (บาท), จากภาษาสันสกฤต पाद (ปาท, “เท้า”), จากภาษาบาลี ปาท (“เท้า”)
คำนาม
[แก้ไข]บาท
การใช้
[แก้ไข]ราชาศัพท์ว่า พระบาท
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]บาท
- มาตราเงินตามวิธีประเพณี 100 สตางค์หรือ 4 สลึง เท่ากับ 1 บาท, อักษรย่อว่า บ., เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ ๓ หมายความว่า 3 บาท
- ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดน้ำหนักเท่ากับเงิน ทอง หรือนากหนัก 15 กรัม
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต पाद (ปาท, “หนึ่งในสี่”)
คำนาม
[แก้ไข]บาท
รากศัพท์ 4
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]บาท
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- th:สกุลเงิน
- th:วรรณกรรม
- th:เวลา